วันศุกร์ที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียรนรู้ครั้งที่16

วันพฤหัสบดีที่ 8 มีนาคม 2555

เนื้อหาที่เรียน/ความรู้ที่ได้รับ
  • อาทิตย์นี้เป็นอาทิตย์สุดท้านในการเรียน เนื่องจากในสัปดาห์หน้าจะมีการสอบปลายภาค  อาจารย์จึงให้ทุกคนนำเสนองานที่อาจารย์สั่งให้นำมาส่ในบล็อกของตัวเอง  และงานที่ทำผิดอาจารย์ให้แก้ไขงานในห้อง   
           
รูปภาพงานที่ส่ง



                                                              งานทำหนังสือร่วมกับเด็ก




                                                                  หนังสือนิทาน





                                                                       งานกลุ่ม

จัดการสอบนอกตารางในวันจันทร์ที่ 19  มีนาคม 2555  เวลา   17:00 น.

วันศุกร์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่15

วันพฤหัสบดีที่ 29 กุมภาพันธ์  2555
  • ให้นักศึกษา นำเสนอผลงานที่ค้างไว้
  • อาจารย์นัดสอบ ร้องเพลง ก-ฮ
  • สอนการทำสื่อเกี่ยวกับภาษาสำหรับเด็ก  โดยใช้กระดาษแข็ง ตัดเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าแแบ่งครึ่งกระดาษด้านบนวาดภาพที่ล่างให้เขียนคำใต้
  • อย่างที่สองคือ ตัดกระดาษเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าเช่นเดียวกัน   จากนั้นวาดภาพที่เราต้องการเเละเขียนคำใต้ภาพให้ถูกต้อง  จากนั้นให้ตัดกระดาษเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า ตัดเป็นกระดาษเล็ก           สามแผ่น  และเขียนคำเดิมลงไป  เมื่อเด็กได้เห็นเเล้วจะสามารถอ่านออกได้ว่ารูปที่เห็นอยู๋ในภาพมีความหมายว่าอย่างไร

รูปภาพ



การบ้าน
  • ให้ส่งงานหนังสือเล่มใหญ่ในอาทิตย์หน้า

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่14

วันพฤหัสบดีที่ 23  กุมภาพันธิ์  2555

  • สอนการทำหนังสือนิทานสำหรับเด็ก  โดยการที่ เราจะทำนั้น จะต้องเป็นอะไรที่หลากหลาย    สามารถปรับเปลี่ยนได้ตลอดเวลา  ไม่ตายตัว
  • อาจารย์นำหนังสือนิทาน ตัวอย่างที่รุ่นพี่ได้ทำไว้มาให้ดู  เป็นหนังสือนิทานโดยใช้รูปเป็นสื่อเป็นตัวเชื่อมกันกับคำถาม  ให้เด็กๆ ได้ทายว่าอะไร
  • หลักในการทำ  เราตัองตั้งในคำถามที่ ใหญ่ก่อน เเล้วค่อยให้คำถามนั้นแคบลง
  • งานที่สอง เป็นหนังสือนิทานเช่นเดียวกัน หน้าปกหนังสือ จะไม่มีชื่อบอกว่า หนังสือเป็นหนังสือ อะไร  และเดี่ยวจะให้เด็กๆ ได้ทายหลังจากที่เล่านนิทานจบ  ว่าสุดท้ายเเล้วนั้นหนังสือนิทานเล่มนี้ชื่อว่า อะไร
  • หนังสือนิทนเล่นนี้จะสังเกตได้ว่า  จะมีคำซ้ำๆอยู่ เนื่องจากต้องการให้เด็กนั้นได้ฝึกการสังเกตระหว่างภาพกับคำที่ปรากฏ


  • นิทานคำทาย








 การบ้าน 

  •  ให้ทำหนังสือเล่มเล็ก  โดยใหเด็กนั้นได้มีส่วนร่วมในการทำ  เช่น เมือ่เราเลือกหัวข้อ ที่เราอยากจะทำ  หลังจากนั้นเลือกรูปให้เด็ก เลือกรูปที่ต้องการเเละฉีกมันออกมา  จากนั้นนำไปติดบน      กระดาษที่เราเตรียมไว้  เเละสรุปให้เรียนร้อย

วันอาทิตย์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่13

วันเสาร์ 18 กุมภาพันธ์ 2555

(เรียนชดเชย)
  •  อาจารย์ให้วาดรูปตามจินตนาการของตนเองและออกไปเล่าเป็นนิทาน กลุ่มล่ะ 9 คน
  •  สรุปแล้วแก้ไขคำพูด เรียงประโยคให้ถูกต้องและเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง
  •  กิจกรรมที่ได้ทำสามารถจัดอยู่ในกิจกรรม "ศิลปะ"
  •  นักศึกษาเขียนคำโดยใช้ภาพ พยัญชนะ และสระ ผสมกัน
  •  ให้นักศึกษาพูดชื่อตัวเอง และทำท่าทางให้เข้ากับพยางค์ชื่อตนเอง และให้จำท่าเพื่อน 1 คน ทำ ตามแล้วกลับมาทำของตนเอง...ทำไปเรื่อยๆ จนครบทุกคน
  •  ให้ท่อง ก.ไก่ - ฮ.นกฮูก พร้อมร้องเพลง
พยัญชนะมีทั้งหมด 44 ตัว มี 28 เสียง

  • อักษรกลาง มี 9 ตัว = ก/จ/ด/ต/บ/ป/อ/ฏ/ฎ (ไก่จิกเฎ็กตายเด็กฏายบนปากโอ่ง)
  • อักษรสูง มี 11 ตัว = ข/ฃ/ฉ/ฐ/ถ/ผ/ฝ/ส/ษ/ศ/ห (ฉันฝากขวดขี้ผึ้งใส่ถุงให้เศรษฐี)
  • อักษรต่ำเดี่ยว มี 10 ตัว = ง/ญ/น/ย/ณ/ร/ว/ม/ฬ/ล (งูใหญ่นอนอยู่ ณ ริมวัดโมฬีโลก)
  • อักษรต่ำคู่ มี 14 ตัว = ค/ฅ/ฆ/ช/ฌ/ซ/ฑ/ฒ/ท/ธ/พ/ภ/ฟ/ฮ
- ทำหนังสือหัดอ่าน (พยัญชนะ+สระ)

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่12

วันพฤหัสบดีที่ 16 กุมภาพันธ์ 2555

  • ภาษาในการสื่อสารเป็นเครื่องมือที่ทำให้เด็กเกิดความคิดรวบยอด
  • ได้เรียนเรื่อง การสร้างภาพปริศนา และหนังสือภาพ
  •  อาจารย์บอกว่าเวลาที่เราจะเลือกทำหนังสือภาพ  ควรทำในสิ่งที่เด็กต้องการหรือสิ่งที่เด็กมีประสบการณ์ และสิ่งที่เด็กสนใจ
  • ส่วนการสร้างภาพปริศนานั้น เราควรหาสิ่งที่เป็นปริศนาใกล้ๆตัวเด็ก
การบ้าน
  • ให้นักศึกษาจับกลุ่ม 4 คนทำภาพปริศนา
  • ให้นักศึกษาจับกลุ่ม 4 คนทำหนังสือภาพ

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่11

วันพฤหัสบดีที่ 9 กุมภาพันธ์ 2555

*ไม่มีการเรียนการนอนเนื่องจากอาจารย์ติดอบรมที่ต่างจังหวัด
แต่อาจารย์ได้ให้งานไปทำเพื่อชดเชยคือ การสร้างภาพปริศนาและทำหนังสือภาพ

บันทึกการเรียนครั้งที่10

วันพฤหัสบดีที่ 2 กุมภาพันธ์ 2555

  • วันนี้เราได้ดูนิทานเรื่อง แม่ไก่สีแดงจากหนังสือ E-book ทำให้เรารู้ว่านิทานในสมัยนี้ไม่จำเป็นต้องเป็นเล่มอีกแล้วเพราะเทคโนโลยีมันก้าวไกลเราเป็นครู้ควรต้องตามเทคโนโลยีให้ทัน
  • การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยมีดังต่อไปนี้
  • พัฒนาการ
  • วิธีการเรียนรู้
  • สิ่งแวดล้อม
  • นวัตกรรมทางภาษา
  • ภาษาจะประกอบด้วย การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน
  • องค์ประกอบทางภาษามีดังต่อไปนี้
  • เสียง คือ การอ่าน สัญลักษณ์การอ่าน ระบบเสียง ตัวอักษร
  • ไวยกรณ์ คือ คำและประโยค
  • ความหมาย คือ คำศัพย์และประโยคข้อความ